ดร.นภัสกร มหัทธนธีรนันท์
ตำแหน่ง : อาจารย์ และ
หัวหน้าภาควิชาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ :5360, 5002
อีเมล : napassakorn.k@msu.ac.th
Level of education | Degree Name | institution | Year of completion |
doctorate | Ph.D. Information Studies | Khon Kaen University | 2553 |
master | M.A. Library and Information Science | Khon Kaen University | 2549 |
Bachelor's degree | B.A. Library and Information Science | Khon Kaen University | 2543 |
-Information Management
-Organization of Information
-Information Retrieval
-Folksonomy
name |
Quoted by
|
year |
---|---|---|
Using hashtags of Mahasarakham University students via social media
napa sakorn kruai sawat
Information-Index, 27 (1), 89-98.
|
2020 | |
Users’s Behavior In Accessing and Using Key Words to Retrive Business and Economic Information
N Kruaysawat, L Manmart, M Kabmala
Journal of Information Science 36 (1), 69-108
|
2018 | |
Folksonomy with increasing efficiency in information retrieval
napa sakorn kruai sawat
Journal of Information Science 29 (3), 65-80
|
2011 | |
Factors that contribute to the use of social networks
napa sakorn kruai sawat
Journal of Information Science 28 (3), 81-88
|
2010 |
ผศ.ดร.รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360. 5002
อีเมล : rungtip.c@msu.ac.th
ระดับ |
ชื่อปริญญา |
ชื่อสถาบัน, ประเทศ |
ปีที่จบ |
ปริญญาเอก |
ปร.ด. สารสนเทศศึกษา |
มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
2557 |
ปริญญาโท |
ศศ.ม. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
2540 |
ปริญญาตรี |
กศ.บ. บรรณารักษศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม |
2534 |
บทความวิจัย
สมฤดี พิณทอง และรุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (2563). การศึกษาสภาพและความต้องการการบริการแบบเบ็ดเสร็จ
ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 7(1), 25-40.
ณภาภัช วงศ์เศษ และรุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (2561). ความคาดหวังและความคิดเห็นของบุคลากรต่อสมรรถนะ
ของบรรณารักษ์งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ. รมยสาร : 16(2),
389-410.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (2560). ความต้องการของลูกค้าในด้านช่องทางการบริการสำหรับห้องสมุดประชาชนใน
จังหวัดมหาสารคาม. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 36(1) : 111-119.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (2558). การพัฒนาห้องสมุดประชาชนตามรูปแบบห้องสมุดมีชีวิต. วารสารอินฟอร์เมชัน,, 22(1), 69-78.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์ และชลภัสส์ วงษ์ประเสริฐ. (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และอิทธิพลต่อรูปแบบห้องสมุด
Teimtinakrit, C, Charoensak, R, and Nilati, P. (2019). Acquisition and Use of Digital Literacy
Skills of Information Science Graduates : A Survey of Mahasarakham University,
and Transformation in Academic Libraries. Vol. 2. (pp.703-713). Karnataka,
Surathkal, India: National Institute of Technology.
Charoensak, R. (2018). Services based on customer centric- services concept of public
libraries in Thailand. in International conference on exploring the horizons of library
and information sciences: from libraries, to knowledge hub. (pp.459-465). Bangalore,
Karnataka: Documentation Research and Training Centre Indian Statistic.
Charoensak, R. and Vongprasert, C. (2013). Public Libraries in Thailand in the Context
of Living Library Model for Life-Long Learning in the Community. Asia Pacific Journal of
Library and Information Science. 3(2).
บทความวิชาการ
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (มกราคม-เมษายน 2548). ระบบห้องสมุดดิจิตัล : ภาพรวมและผลกระทบ.
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข. 23(1), 34-42.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (มกราคม-ธันวาคม 2545). บริการสารสนเทศ. สารนิเทศ. 9(1-2), 60-66.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (กรกฎาคม- ธันวาคม 2542). รายชื่อสารสนเทศที่เกี่ยวข้องใน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม รวบรวมและจัดให้บริการ. สารนิเทศ. 6(2), 66-118.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (พฤศจิกายน 2538-กุมภาพันธ์ 2539). การสืบค้นสารสนเทศโดย
คอมพิวเตอร์ของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สารนิเทศ. 3(1), 38-45.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (มีนาคม-มิถุนายน 2538). การบริการเป็นหัวใจสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน.
สารนิเทศ. 2(2), 15-20.
รุ่งทิพย์ เจริญศักดิ์. (พฤศจิกาย.2537-กุมภาพันธ์ 2538). บริการ PULINET CARD. สารนิเทศ
2(1), 63-64.
ผศ.ดร.แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี
Assistant Prof. Dr. Gamgarn Somprasertsri
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360, 5002
อีเมล : gamgarns@msu.ac.th
ระดับการศึกษา |
ชื่อปริญญา |
สถาบัน |
ปีที่จบ |
ปริญญาเอก |
ปร.ด. เทคโนโลยีสารสนเทศ |
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
2554 |
ปริญญาโท |
วท.ม. เทคโนโลยีสารสนเทศ |
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง |
2541 |
ปริญญาตรี |
วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์ |
มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
2535 |
Somprasertsri, G., & Lalitrojwong, P. (2008). Automatic Product Feature Extraction from Online Product Reviews Using Maximum Entropy with Lexical and Syntactic Features. The 6th IEEE International Conference on Information Reuse and Integration, Nevada, USA, 250-255. |
Somprasertsri, G., & Lalitrojwong, P. (2008). A Maximum Entropy for Product Feature Extraction in Online Customer Reviews. The 3rd IEEE International Conference on Cybernetics and Intelligent System, Chengdu, China, 575-580. |
Somprasertsri, G., & Lalitrojwong, P. (2010). Extracting Product Features and Opinions from Product Reviews Using Dependency Analysis. The 7th International Conference on Fuzzy Systems and Knowledge Discovery, Yantai, China, 2358-2362. |
Somprasertsri, G., & Lalitrojwong. P. (2010). Mining Feature-Opinion in Online Customer Reviews for Opinion Summarization. Journal of Universal Computer Science, 16(6), 938-995. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2555). การสกัดเมทาดาทาจากวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ตัวจำแนกเบย์อย่างง่าย. อินฟอร์เมชั่น, 19(2), 87-95. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2556). การจัดเรียงลำดับผลลัพธ์ของการค้นคืนสารสนเทศด้วยวลีโดยใช้สารสนเทศร่วม. วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 6(2), 25-34. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). การสกัดวลีสำคัญภาษาไทยอัตโนมัติโดยใช้เทคนิค |
ราชวิทย์ ทิพย์เสนา ฉัตรเกล้า เจริญผล และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). การจำแนกกลุ่มคำถามอัตโนมัติบนกระดานสนทนาโดยใช้เทคนิคเหมืองข้อความ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33(5), 493-502. |
อนันต์ ปินะเต ฉัตรเกล้า เจริญผล และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). การใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลในการเลือกกลุ่มสาขาวิชาที่เหมาะสมสาหรับการศึกษาต่อระดับปริญญาตรี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33(6), 648-656. |
สิริกร จิตภักดี และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). กิจกรรมส่งเสริมการรู้สารสนเทศ สาระเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนิคมกุฉินารายณ์หมู่ 2 จังหวัดกาฬสินธุ์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับ นานาชาติ ครั้งที่ 2 “นานาวิทยาการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่เอเซีย" ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย จังหวัดขอนแก่น, 1974-1987. |
วิทวัส หรัญรัตน์ และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2557). การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊คเพื่อส่งเสริมบริการห้องสมุด ศูนย์วิทยบริการ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2/2557 "นานา วิทยาการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่เอเซีย" ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย จังหวัดขอนแก่น, 2066-2075. |
ลำพึง บัวจันอัฐ และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฎ. วารสารสนเทศ ศาสตร์, 34(4), 68-82. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2560). พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อทำ โครงงาน สารสนเทศศาสตร์ของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 10(1), 1-9. |
สิริพงษ์ ครบอุดม และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2561). การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารสนเทศศาสตร์, 36(1), 127-145. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
ณัฐรดา บุญเย็น และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2561). พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อทำผลงานทางวิชาการของอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, รมยสาร, 16(3), 431-450. |
เริงใจ เขียวอ่อน และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2562). พฤติกรรม ความต้องการและการรับรู้ภาพลักษณ์ห้องสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษของผู้ใช้บริการ, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ, 13(1), 26-34. |
ชลธิชา อาจประดิษฐ์ และแกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2562). พฤติกรรมการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของผู้ใช้บริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 16(2), 315-324. |
แกมกาญจน์ สมประเสริฐศรี. (2563). การค้นคืนเอกสารตามเนื้อหาโดยใช้หลักการของกราฟ. วารสารวิชาการนวัตกรรมการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 7(1), 77-87. |
ผศ.ดร.ฤทัย นิ่มน้อย
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360, 5002
อีเมล : ruethai.n@msu.ac.th
ระดับการศึกษา |
วุฒิ |
สถาบัน |
ปีที่จบ |
ปริญญาเอก |
Ph.D. Library and Information Science |
Osmania University |
2556 |
ปริญญาโท |
ศศ.ม. บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
2544 |
ปริญญาตรี |
ศศ.บ. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
2541 |
วารสารระดับชาติ
สุดารัตน์ รัตนราช, เพ็ญสุภา แก้วพิทยาภรณ์, และ ฤทัย นิ่มน้อย. (2547). การดำเนินการเกี่ยวกับปัญหาหนังสือค้างในฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ลานจันทร์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร), 9-12(1-2), 9-21.
ฤทัย นิ่มน้อย, ลักษณา เถาว์ทิพย์. (2555). การวิเคราะห์การทำรายการแหล่งข้อมูลออนไลน์ (ORC) โดยใช้เมทาดาทาของนิสิตหลักสูตรสารสนเทศศาสตร์ : เพื่อประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน. อินฟอร์เมชั่น. 19, (2): 75-86.
ฤทัย นิ่มน้อย, ภาธร นิลอาธิ. (2560). การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ผ่านฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด (OPAC) ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อินฟอร์เมชั่น, 24(2), 39-54.
ภาธร นิลอาธิ, ฤทัย นิ่มน้อย และ ฉันทนา เวชโอสถศักดา. (2560). ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 35(1), 124-143.
สุขเกษม จันทรแสน, ฤทัย นิ่มน้อย. (2560). แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้: กรณีศึกษา โรงเรียนมาบกราดวิทยา ตำบลมาบกราด อำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 9, 2 (ก.ค.-ธ.ค.), 179-196.
ฤทัย นิ่มน้อย. (2561). การใช้สื่อใหม่เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของนิสิต สาขาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารวิชาการวิถีสังคมมนุษย์, 6(1), 197-218.
วารสารระดับนานาชาติ
Nimnoi, Ruethai. (2011). The Errors in Thai Writings of the First Year Information Science Students, Faculty of Informatics, Mahasarakham University, Asia Pacific Journal of Library and Information Science. 1(1): 34-42.
Laksana Thaotip, Ruethai Nimnoi, and Phatthira Suwannako. (2013). Impact of the Workplaces on the Design and Development of Information Science Curriculum: A Case Study of Mahasarakham University, Thailand, INTERNATIONAL JOURNAL OF INFORMATION RESEARCH. 3, 1 (September).
Nimnoi, Ruethai, and Rao, S. Sudarshan. (2013). "Management of Cultural Objects in Thailand: A Website Survey of Cultural Agencies," Information Age. Vol. 7, no.1 (Jan 2013): p. 3-8.
Nimnoi, Ruethai, and Rao, S. Sudarshan. (2013). "Development of Digital Cultural Collections for Cultural Knowledge Center (Thailand): A Data Collection Method and Technique," Trends in Information Management (TRIM). 9,(1): p. 22-37.
Nimnoi, Ruethai, and Rao, S. Sudarshan. (2014). “Cultural Object Collections in Memory Institutions in Thailand: A Study of Metadata Practices,” Asia Pacific Journal of Library and Information Science, 4,(1).
การประชุมวิชาการระดับชาติ
ธนพร เฟื่องขจร และฤทัย นิ่มน้อย. (2561). แนะนำหนังสือใหม่ในห้องสมุดด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมบนสมาร์ทโฟน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9” วันที่ 29-31 สิงหาคม 2561. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จ.สุรินทร์, 612-619.
นิกานต์ดา ทองน้อย และฤทัย นิ่มน้อย. (2561). การพัฒนาสื่อการเรียนสถาปัตยกรรมอีสาน 3 มิติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9” วันที่ 29-31 สิงหาคม 2561. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จ.สุรินทร์, 710-719.
กัญญารัตน์ พูลเพิ่ม และฤทัย นิ่มน้อย. (2563). การวิเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เหมืองข้อมูล ระหว่าง พ.ศ. 2558 – 2562. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11 “วิจัยและนวัตกรรมวิถีใหม” วันที่ 17-18 กันยายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จ.สุรินทร์, C-273-C-284.
ธีราพร เดชเหลา, ฉันทนา เวชโอสถศักดา และฤทัย นิ่มน้อย. (2563). การวิเคราะห์เนื้อหาวิทยานิพนธ์ด้านพืชสมุนไพร พ.ศ. 2551-2561. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11 “วิจัยและนวัตกรรมวิถีใหม” วันที่ 17-18 กันยายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จ.สุรินทร์, C-81-C-91.
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
Laksana Thaotip, and Ruethai Nimnoi. (2013). Publishing of Open Access Journal in Thailand, Procedia - Social and Behavioral Sciences. 73:93.
Somprasertsri, G., Nimnoi, R., Thaotip, L. & Waiyahong, N. (2012). Comparison of Selected Software Systems for Creation and Management of an Open Access Journal. i-COME 2012 international conference on communication and media, Penang, Malaysia 1-3 November 2012.
Nilati, P., Ruethai Nimnoi. (2018). The Application of Augmented Reality Technology in Library Information Services. The LISSASPAC International Conference on Library and Information Science: From Library Open to Open Society. 18-19 August 2018. Nonthaburi, Thailand : SukhothaiThammathirat Open University. pp.531-539.
Punleow, Juntakan, Ruethai Nimnoi. (2018). Information Literacy of Information Science Major Students, Mahasarakham University. International Conference on CONVERGENCE: CONTENT, MEDIA AND TECHNOLOGY. Venue: Faculty of Informatics, Mahasarakham University, Thailand. November 22-23, 2018. pp.234-242.
Ruethai Nimnoi. (2019). Information Resources Development Policies to Support the Cooperation among Libraries of Higher Education Institutions: Case study of Provincial University Library Network (PULINET), Thailand. International Conference on Digital Technologies and Transformation in Academic Libraries (DigiTTAL 2019). December 26-28, 2019. National Institute of Technology Karnataka, Surathkal, Mangaluru, India. pp.589-596.
Ruethai Nimnoi. (2019). Attitude Towards English Language and Teaching Methods Affecting English Study for Specific Purposes of Information Science Students, Mahasarakham University, Thailand. International Conference on Digital Technologies and Transformation in Academic Libraries (DigiTTAL 2019) December 26-28, 2019. National Institute of Technology Karnataka, Surathkal, Mangaluru, India. pp.714-725
ผศ.ภัทธิรา สุวรรณโค
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360
อีเมล : phattheera.s@msu.ac.th
ศศ.บ (สารสนเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศศ.ม (บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การจัดการฐานความรู้ (Knowledge Based Management)
การออกแบบและพัฒนาสารสนเทศดิจิทัล (Digital information Design and Development)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ออนโทโลยี (Ontology)
TITLE |
CITED BY
|
YEAR |
---|---|---|
การ เปรียบเทียบ ปัจจัย ที่ มี ผล ต่อ การ ตัดสินใจ เลือก ศึกษา ต่อ ใน หลักสูตร ระดับ ปริญญา ตรี ด้าน วิทยาการ สารสนเทศ
S Tirakoat, K Youngmee, M Nimpisan, P Phisittaphong, P Suwannako
Journal of Applied Informatics and Technology 3 (2), 122-135
|
2021 | |
ความ คาด หวัง และ การ รับ รู้ การ ฝึกงาน ใน ห้องสมุด ต่าง ประเทศ ของ นิสิต สาขา สารสนเทศ ศาสตร์ ณ ต่าง ประเทศ
P Suwannako, R Nimnoi, P Nilati
Journal of Information Science 39 (3)
|
2021 | |
Real Estate Information and the Web: Developing Guidelines for service providers of Maha Sarakham
P Suwannako, N Waiyahong
Asia Pacific Journal of Library and Information Science 1 (2), p 104-110
|
2011 | |
The Satisfactions toward the Library Service Quality of Academic Resource
P Suwannako
Sciences 27, 193-209
|
2006 |
ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ แสงแก้ว
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360, 5002
อีเมล : electoday@gmail.com
- ปร.ด. (สารสนเทศศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- คอ.ม. (คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ) พระจอมเกล้าธนบุรี
- วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) พระจอมเกล้าธนบุรี
- ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่องจักรเพื่อการประยุกต์ใช้งาน เช่น ระบบรู้จำใบหน้า
- การพัฒนาเว็บและโมบายแอพลิเคชั่นด้วย Flutter
- การผลิตสื่อและมัลติมีเดียสำหรับการเรียนการสอน
- การใช้งานระบบปฏิบัติการลินุกซ์และการโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการลินุกซ์
- เขียนหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเล่มแรกของไทย พ.ศ. 2549
- การเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ด้วยภาษาซีและภาษาไพธอน (Micropython)
- การเขียนโปรแกรมสกัดข้อมูลทั้งแบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
TITLE |
CITED BY
|
YEAR |
---|---|---|
ประสิทธิภาพ การ สืบค้น ข้อมูล วิทยานิพนธ์ ใน ThaiLIS ด้วย การ ประมวล ผล แบบ ขนาน บน คลัสเตอร์ คอมพิวเตอร์ โดย ใช้ เทคนิค แม็ พ รีดิวซ์
จักร ก ฤ ษ ณ์ แสง แก้ว
TLA Research Journal 10 (2), 41-54
|
2017 | |
Integrating remote sensing resources for developing an effective forecasting model in the royal rainmaking operation in upper northern provinces of Thailand
C Saengkaew, K Tuamsuk, R Talumassawatdi
2015 4th International Conference on Computer Science and Network Technology …
|
2015 | |
Thai and English Electronic Dictionary for Android Mobile Phones Using Python Language
C Saengkaew
International Journal of e-Education, e-Business, e-Management and e …
|
2011 | |
Thai and English Electronic Dictionary for Mobile Phones
C Saengkaew
Proceedings of 2011 1st International Conference on Network and Electronics …
|
ดร.ภาธร นิลอาธิ
ตำแหน่ง : อาจารย์ และ
ประธานหลักสูตรสารสนเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360, 5002
อีเมล : patorn.n@msu.ac.th
ระดับการศึกษา | ชื่อปริญญา | สถาบัน | ปีที่จบ |
ปริญญาเอก | Ph.D. Library and Information Science | Osmania University | 2558 |
ปริญญาโท | ศศ.ม. บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | 2549 |
ปริญญาตรี | วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์ | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | 2542 |
ภาธร นิลอาธิ. (2561). ความต้องการสื่อประชาสัมพันธ์เครือข่ายความร่วมมือของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม (MALINET) กรณีศึกษาผู้ใช้บริการห้องสมุดในเครือข่ายฯ. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์. 37(1), 177-192.
ฤทัย นิ่มน้อย และ ภาธร นิลอาธิ. (2560). การเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ผ่านฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด (OPAC) ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อินฟอร์เมชั่น. 24(2), 29-54.
ภาธร นิลอาธิ, ฤทัย นิ่มน้อย และ ฉันทนาเวชโอสถศักดา. (2560) ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารสารสนเทศศาสตร์ 35(1), 124-143.
Nilati, P., Ruethai Nimnoi. (2018). The Application of Augmented Reality Technology in Library Information Services. The LISSASPAC International Conference on Library and Information Science: From Library Open to Open Society. Nonthaburi, Thailand : SukhothaiThammathirat Open University. pp.531-539. (Best paper award)
Nilati, P. (2014). Impact of ICT on Library Staff in Academic Library in India and Thailand: A Comparative Study. Asia Pacific Journal of Library and Information Science. 4(2), 1-9.
Teimtinakrit, C, Nilati, P and Ramesh Babu, B. (2014). Impact of IT on LIS Education: a study of Thailand. REVOLUTION OF DIGITAL ENVIRONMENT ON LIBRARY AND INFORMATION SERVICES Festschrift in honour of Dr S. Gopalakrishnan (MIT). 117-131.
Nilati, P. and Rao, N. Laxman. (2013). Library Consortia in Thailand: An Overview. In 2nd International Conference on Academic Libraries-Academic Library Services Through Cloud Computing-Moving Libraries to the Web, New Delhi, India.
Nilati, P. and Rao, N. Laxman. (2012). Library Promotion Activities: A Case Study of University Libraries in Thailand. In Proceeding of the 3rd International Symposium ETTLIS-2012, Jaypee University of Engineering and Technology, Guna, October 26-27. pp. 290-300.
Nilati, P and Rao, N. Laxman. (2012). Library Promotion Activities: A Case Study of University Libraries in Thailand. ETTLIS-2012 3rd International Symposium on Emerging Trends and Technologies in Libraries and Information Services, Uttar Pradesh, India.
Nilati, P and Rao, N. Laxman. (2010). Current Status of Open Access in University Library of Thailand. National Seminar on Management of Open Access Resources, Hyderabad, India.
จิณณวัตร ทะลาสี
ตำแหน่ง : อาจารย์ และ
ประธานหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต สาขาสารสนเทศศาสตร์
โทรศัพท์ : 5360, 5002
อีเมล : tjinnawat@gmail.com , jinnawat@msu.ac.th
วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- การจัดการระบบฐานข้อมูลและเว็บไซต์ (Database System and Web Application)
- ระบบผู้เชียวชาญและปัญญาประดิษฐ์ (Expert System and Artificial Intelligence)
- การทำเหมืองข้อมูลและการเรียนรู้ของเครื่องจักร (Data Mining and Machine Learning)