DUST
INFORMATION
DUST
INFORMATION
หน้าหลัก
การเฝ้าระวัง
การประเมินตนเอง
ตรวจสอบฝุ่นละอองจังหวัดมหาสารคาม
กรมควบคุมมลพิษ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บริษัท นาโนเจนเนอร์เรชั่น จำกัด
การคำนวณ
คำนวณ
ประวัติการคำนวณ
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
ชุมชนพื้นที่ต้นแบบ
มาตรการกฎหมาย
เทศบัญญัติ
สื่อการเรียนรู้
คำร้องขอเพิ่มทรัพยากร
เว็บไซต์คณะวิทยาการสารสนเทศ
การติดต่อ
การติดต่อ
เกี่ยวกับ
ลงชื่อเข้าใช้
เลือกเขตข้อมูล
เลือกเขตข้อมูล
ชื่อเรื่อง
ผู้ดำเนินการ
คำสำคัญ
อำเภอ
การเตรียมความพร้อมขององค์กร เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
วันที่ : 21/12/2024
ชื่อวัด
*
ชื่อผู้ประเมิน
*
อำเภอ
*
กรุณาเลือก
เมือง
กันทรวิชัย
ยางสีสุราช
บรบือ
โกสุมพิสัย
แกดำ
วาปีปทุม
เชียงยืน
นาเชือก
นาดูน
ชื่นชม
กุดรัง
พยัคฆภูมิพิสัย
ตำแหน่ง
*
ความต้องการ
*
ใช่ บางส่วน ไม่ใช่
1.มีการกำหนดการผลักดันการจัดการสิ่งแวดล้อมแสดงไว้ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาท้องถิ่น
*
2.มีการกำหนดแผนการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ และะทักษะที่จำเป็น (Job Training Needs) ให้แก่บุคลากรในแต่ละตำแหน่งงานที่สอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาท้องถิ่น
*
3.มีการจัดทำข้อมูลหน่วยงานผู้รับผิดชอบ สำหรับจัดอบรม ให้ความรู้ ฝึกทักษะ และเป็นที่ปรึกษา (Training Center)
*
4.มีแผนการฝึกอบรมแบบครบวงจรและในบุคลากรทุกระดับ (Full Course Training) เริ่มตั้งแต่การจัดฝึกอบรม การประเมินผลการฝึกอบรม การทดสอบภายหลังการฝึกอบรม และการฝึกอบรมภาคปฏิบัติภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
*
5. มีการจัดทำเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ/แผนดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่สอดรับกับบริบทของพื้นที่ อาทิเช่น การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การควบคุมไฟและฝุ่นละอองจากการเผา บ่อดักไขมันบำบัดน้ำเสียในอาคาร แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP)
*
6.มีระบบที่สนับสนุนการบริหารงานให้มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ
*
7.มีโครงการ/กิจกรรม/บริการ ที่ส่งเสริมให้เกิดการทำงานร่วมกัน
*
8.มีการประเมินสมรรถนะที่ส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจ ให้บุคลากรนำเอาความรู้ และความสามารถมาใช้ในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ
*
9.มีช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นจากภายนอก
*
10. การบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ในระดับโครงการ)
10.1 มีการเปิดโอกาสการให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ
*
10.2 มีการร่วมมือกันทำงานอย่างใกล้ชิดระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน
*
10.3 มีการแปลงวิสัยทัศน์ นโยบาย และยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติงานที่สามารถกระทำได้จริง
*
10.4 มีการติดตามและประเมินผลโครงการ
*
10.5 มีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ
*
11. มีการจัดอบรมเทคนิคที่จำเป็นต่าง ๆ ในการบริหารองค์กร เช่น การวิเคราะห์หาจุดอ่อนจุดแข็งโอกาสและความเสี่ยง (SWOT)
*
12. มีหลักสูตรในการจัดฝึกอบรม ที่ครอบคลุมเทคนิคการบริหารจัดการองค์กร การบริหารองค์กรเชิงธุรกิจ และการวางแผนการตลาดตามความต้องการของประชาชน
*
13. มีการจัดทำแผนกลยุทธ์ขององค์กร ที่เกิดจากทุกภาคส่วนในท้องถิ่น โดยจัดให้มี “สัปดาห์แห่งการจัดทำแผนกลยุทธ์” ขององค์กร
*
14. มีการกำหนดสัดส่วนของโครงการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์กร และสัดส่วนของโครงการที่มาจากประชาชนดำเนินการร่วม
*
15. มีการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในการเขียนโครงการที่ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ
*
16. มีการสนับสนุนการดำเนินโครงการให้แก่ประชาชน ในด้านประสานงาน เสนอแนะ และอำนวยความสะดวก เช่น การติดต่อวิทยากรมาให้ความรู้แก่ประชาชน และการสนับสนุนให้ชุมชนหันมาช่วยเหลือและร่วมมือกันมากขึ้น
*
17. มีการจัดให้มีการสร้างดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (KPI) ด้านต่าง ๆ ในการบริหารจัดการขององค์กร
*
18. มีการประเมินผลทุก ๆ 1-2 ปี เพื่อลดภาระของบุคลากรท้องถิ่น
*
19. มีการจัดให้มีการชำระระเบียบปฏิบัติทางราชการภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อลดขั้นตอนการทำงานขององค์กรให้สั้นลง
*
20. มีการจัดให้มีองค์กรภาคประชาชนในท้องถิ่นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สภาที่ปรึกษาประชาชนในท้องถิ่น เวทีรับฟังความคิดเห็น การจัดตั้งสถาบันพัฒนาผู้นำท้องถิ่น เพื่อแลกเปลี่ยนและเสนอแนะการดำเนินการ และดำเนินการให้ตรงกับความต้องการของประชาชน
*
21. มีแผนการศึกษาดูงานในท้องถิ่นอื่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีหรือมีโครงการที่ประสบความสำเร็จ และนำมาประยุกต์ใช้ ที่สอดรับกับบริบทขององค์กร
*
Follow Us
@cmarenetwork
©
DUST INFORMATION
. All Rights Reserved. Design by
HTML Codex